๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

ปกิณกะธรรม : แนะนำการปฎิบัติ อย่าหลงตัวเองว่าได้มโนมยิทธิ จะทำให้เกิดมานะ


เทศน์ : การมีพระรัตนตรัยอยู่ในจิต การหลงตัวเองว่าดีแล้วนำไปสู่อกุศลกรรม


ปกิณกะธรรม : ความทุกข์สุขอันเกิดจากการมีขันธ์ ตามรู้ให้ทันและละ


ปกิณกะธรรม : การเคารพในสิ่งที่ไม่เห็นเป็นทางเดินของผู้ปฏิบัติ


ปกิณกะธรรม : แนะนำการปฎิบัติพระกรรมฐาน แค่ไม่ลังเลสงสัยในคุณของพระพุทธศาสนา และมีความเพียรอยู่ตลอด


กรรมฐาน : การเจริญเมตตา และการไม่ปรารถนาประทุษร้ายผู้ใด ไม่โต้ตอบต่อคนที่ประทุษร้ายตอบ


พระเมตตาพร : พระเมตตาให้พร ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕


ปกิณกะธรรม : พระคาถาอิสวาสุ พุทธสังมิ องค์ของสมาธิจิตที่สงบยิ่ง

๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

ปกิณกะธรรม : ในการทำของมงคล


เทศน์ : การพ้นทุกข์ ด้วยความไม่โลภไม่โกรธไม่หลง มีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง


ปกิณกะธรรม : เครื่องวัดในการปฎิบัติ ละความโกรธ ลักษณะความโกรธของพระอริยบุคคล


กรรมฐาน : ความโลภโกรธหลง มีเหตุมาจากตัณหา และอุปาทานความอยาก


ปกิณกะธรรม : แนะนำการเก็บของวัตถุมงคล ผู้ใดที่บริสุทธิ์ผู้นั้นย่อมได้ของบริสุทธิ์ดั่งพระอรหันต์


ปกิณกะธรรม : อนุสสติ ในการเก็บเงินไว้ตอนแก่เพื่อรักษาตน


นิทาน : เทวดาที่มีหน้าที่ให้คนพ้นทุกข์เมื่อมีภัยพิบัติ การเตรียมการรับมือด้วยการสะสมเสบียง


ปกิณกะธรรม : ความเมตตาของหลวงพ่อฤาษีฯที่มองเห็นได้ยาก


พระเมตตาพร : พระเมตตาให้พร ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

ปกิณกะธรรม : การบูชาครูด้วยดอกไม้สามสี จะมีผลต่อผู้สอนและผู้ปฎิบัติ


เทศน์ : องค์ของการตรัสรู้เป็นคาถา (โพชฌงค์ ๗) กายไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา


ตอบปัญหาธรรม : บุพกรรมที่เนื่องกันอ้างคุณพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง


ตอบปัญหาธรรม : การพูดด้วยความเมตตาเป็นอาวุธที่ดีที่สุด สิ่งที่น่ากลัวคือความโง่


ปกิณกะธรรม : สนทนาธรรมกับหลวงน้าหมอ หมอใหญ่คือพระพุทธเจ้า


กรรมฐาน : ฌาน ๔ แบบละเอียดด้วยอารมณ์นิพพิทาญาน ใคร่ครวญเสมอนำไปสู่ทางหลุดพ้น


ปกิณกะธรรม : การปฏิบัติแบบละเอียดด้วยอารมณ์นิพพิทาญาน


ปกิณกะธรรม : ความเมตตาเป็นห่วงของผู้ปฏิบัติ การเข้าถึงสังขารุเปกขาญาณ


ปกิณกะธรรม : ผลบุญส่งผลให้การปฏิบัติต่อเนื่อง พระกรรมฐานจะเกิดปัญญาก็เพราะผลบุญของผู้ปฏิบัติ


พระเมตตาพร : พระเมตตาให้พรอุปมาผู้ปฏิบัติเปรียบเสมือนนักรบที่มีกำลังใจเดียวกัน ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

เทศน์ : การมองการเกิดมีทุกข์ การละความโกรธไม่พอใจ(ปฏิฆะ) กับติดของสวยของหอม (กามราคะ)


ปกิณกะธรรม : วิปัสสนาญาณ ๙ เพื่อการระงับจิตปรุงแต่ง นิวรณ์ จะหลุดพ้นได้ต้องใคร่ครวญสังโยชน์


กรรมฐาน : การทำให้มีความสบายใจตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ด้วยวิปัสสนาญาณ ๙


ปกิณกะธรรม : การปฎิบัติด้านจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน


ปกิณกะธรรม : การจับภาพพระให้ใสมีอารมณ์เป็นตัววัด


ปกิณกะธรรม : การอยู่ในสมณเพศ


ตอบปัญหาธรรม : ในการจับภาพพระในห้องน้ำ บุพกรรมที่ทำมาระหว่างแม่กับลูก


ปกิณกะธรรม : ความเมตตาเตือนข้อปฎิบัติ และผลของพุทธคาถา พุทธัง เมฆะนิมิตรจิตตัง มะอะอุฯ


ปกิณกะธรรม : การเทิดทูนคุณของพระหาทีประมาณได้


ปกิณกะธรรม : พระเมตตาเตือนเสียงธรรมให้กับผู้ที่เนื่องกันเพื่อไม่ให้เกิดโทษ


พระเมตตาพร : พระเมตตาให้พร ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

เทศน์ : อานิสงส์การให้ทาน ให้สิ่งใดได้สิ่งนั้น ผู้ใดตั้งใจฟังธรรมผู้นั้นจะเกิดปัญญา


ปกิณกะธรรม : การติดปีติ การใคร่ครวญอยู่เสมอ การมีทุกข์อันเกิดจากกาย


ปกิณกะธรรม : การมีอุปาทานถือว่าไม่มีอยู่จริง เป็นไปตามวิบากกรรม


กรรมฐาน : การมองตัวเองว่าสกปรก การไปพระนิพพานด้วยการละสังโยชน์ ไม่ว่าพรหมโลก เทวโลก มนุษย์โลก


พระเมตตาพร : พระเมตตาให้พรถวายสังฆทาน ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕


นิทาน : เทวดาผู้มีอุปาทานหลงตัวหลงตนกว่าตัวเองดี คนละดีจะถึงดี






๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

ปกิณกะธรรม : ความเมตตาของหลวงพ่อฤาษีที่มองเห็นได้ยาก การคบมิตรเปรียบเสมือนทั้งชีวิต


เทศน์ : กรรมฐานทุกกองมีไว้เพื่อดับนิวรณ์ การเข้าใจความจริง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นิวรณ์


ปกิณกะธรรม : อย่าประมาทในความดี การทำความดีสักทีต้องใช้กำลังใจ


ปกิณกะธรรม : ความเมตตาเตือนอย่าลืมข้อปฎิบัติ โดยการติดสุข (ปีติ) ให้เอาทุกข์มาใคร่ครวญอยู่เสมอ


ปกิณกะธรรม : การเป็นสาวกอย่าไปฝืนกรรมของใคร ฟุ้งในการทำความดี


นิทาน : งูเห่ากับการกินที่เป็นทุกข์


ปกิณกะธรรม : พระเมตตาให้ตักเตือนการเอาข้อความธรรมอย่าเอาส่วนหนึ่งส่วนใดมา ต้องเอามาให้ครบ

๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

ปกิณกะธรรม : การใคร่ครวญในทางปฏิบัติ


เทศน์ : ความเพียรต้องอาศัยความอดทน


ปกิณกะธรรม : จิตคือสมบัติของเรา ต้องฝึกจิตรู้ให้ครบ


ปกิณกะธรรม : การเชื่อที่ไม่สงสัย การมองความจริงให้ครบ


ปกิณกะธรรม : ถามตอบข้อปฏิบัติ รู้ให้ทันว่ามีพระพุทธเจ้าอยู่กับเราตลอด


ปกิณกะธรรม : พระเมตตาให้แนวทางในการอยู่ธุดงค์


๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

เทศน์ : อิมาหัง ภะคะวาคาถา


ปกิณกะธรรม : กฎธรรมดาของผู้มีกาย มองตัวเองว่ายังไม่ดีเสมอ


กรรมฐาน : ไม่สนใจจริยาผู้อื่น


ปกิณกะธรรม : ความเมตตาที่มีต่อผู้ปฏิบัติเสมอกัน


ปกิณกะธรรม : พุทธคาถา พุทธัง เมฆะ นิมิตรจิตตัง มะอะอุ


พระเมตตาพร : พระเมตตาให้พร ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕